วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564

โอกาสและอุปสรรคของการศึกษาเอกชนขั้นพื้นฐานไทยในทศวรรษหน้า(พ.ศ. 2555 - 2564)

 


Abstract

การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาโอกาสและอุปสรรคของการศึกษาเอกชนขั้นพื้นฐานไทยในทศวรรษหน้า  (พ.ศ. 2555 – 2554)  ด้วยระเบียบวิธีวิจัยอนาคตแบบ  EDFR  โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ  17  ราย  ผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน พบว่า  ปัจจัยภายนอกที่สำคัญที่ส่งผลต่อโอกาส คือ ความจำเป็นในการใช้ภาษาต่างประเทศหรือภาษาสากล  และการเติบโตทางเทคโนโลยีและสาระสนเทศ  ICT  ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่ออุปสรรค คือ รัฐบาลเปลี่ยนแปลงบ่อย ขาดความต่อเนื่องการบริหารงาน  ปัจจัยภายในที่สำคัญที่ส่งผลต่อโอกาส คือ รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษา  จัดการศึกษาทางเลือกมากขึ้น ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่ออุปสรรค คือ การขาดแคลนครู  เงินเดือน สวัสดิการของครูไม่เท่าเทียมภาครัฐ   ผลการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นโอกาสและอุปสรรคที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในด้านต่างๆ พบว่า  ด้านการลงทุน  ปัจจัยที่เป็นโอกาส คือ พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคคือ เงินอุดหนุนจากรัฐบาลไม่เพียงพอ ด้านอยู่รอด ปัจจัยที่เป็นโอกาส  คือ คุณภาพผู้เรียน งบสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากร เงินวิทยฐานะ และเงินเดือนที่จะเท่าเทียมกับโรงเรียนของรัฐ  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค คือ นักเรียนมีจำนวนน้อย เงินทุนหมุนเวียนมีจำกัด  ด้านการสนับสนุนจากภาครัฐ  ปัจจัยที่เป็นโอกาส คือ โอกาสเงินเดือนครูมีแนวโน้มที่สูงขึ้นตามโรงเรียนของรัฐ  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค คือ การเปิดสถานศึกษาแข่งขันกันมากในแต่ละพื้นที่  ด้านการเปิดเสรีทางการศึกษา  ปัจจัยที่เป็นโอกาสคือผู้ลงทุนจากต่างประเทศในธุรกิจด้านการศึกษาส่งผลให้การศึกษาไทยมีการพัฒนาและได้รับวิวัฒนาการทางการศึกษาใหม่ๆ ในด้านสื่อการเรียนการสอน  เทคโนโลยี จากประเทศที่เข้าร่วมลงทุนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคคือ สื่อการเรียนการสอนนำเข้ามีราคาสูง  เงินอุดหนุนจากรัฐบาลไม่เพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพให้ทัดเทียมกับโรงเรียนต่างชาติที่เข้ามาลงทุน  ด้านการพัฒนาคุณภาพ  ปัจจัยที่เป็นโอกาสคือ การคัดสรรครูที่มีคุณภาพ  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคคือ  เงินอุดหนุนรายหัว เงินสนับสนุนจากรัฐบาลไม่เพียงพอ  ด้านพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ปัจจัยที่เป็นโอกาสคือ การกำหนดเป้าหมายนักเรียนเป็นเด็กเก่ง ดี มีสุข ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคคือ การสนับสนุนจากภาครัฐไม่เพียงพอและไม่เท่าเทียมกับภาครัฐ  ด้านพัฒนาวิชาชีพบุคลากร  ปัจจัยที่เป็นโอกาสคือการสนับสนุนจากรัฐบาลมีมากขึ้น  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค คือ ครูขาดความจงรักภักดีในองค์กร ด้านการบริหารจัดการ ปัจจัยที่เป็นโอกาสคือ พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชนมีนโยบายให้กระจายอำนาจสู่หน่วยงานที่รับผิดชอบ ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคคือ การจำกัดคุณวุฒิของครู ผู้ที่มีความชำนาญเฉพาะทางที่จะต้องมีวิชาชีพครู 

สโรชิน สุวิสุทธิ์ และคนอื่นๆ (2555) โอกาสและอุปสรรคของการศึกษาเอกชนขั้นพื้นฐานไทยในทศวรรษหน้า(พ.ศ. 2555 - 2564) วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2557 หน้าที่ 104 - 112 Ç

Ô
ËÒáÒÃÈ
Ö
¡ÉÒ ÁËÒÇ
Ô
·ÂÒÅ
Ñ
¢͹á¡

 http://www.thaiedresearch.org/

บทคัดย่อ (Abstract)

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้และความคิดเห็นในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินทางการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่กำลังศึกษาระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 – ปีที่ 6 ในโรงเรียนโสตศึกษา จำนวน 5 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย จากกลุ่มนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่มีระดับการสูญเสียการได้ยินตั้งแต่ระดับ 70 เดซิเบลขึ้นไป จำนวน 192 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น เก็บรวบรวมข้อมูล โดยนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเลือกตอบจากแบบสอบถามด้วยตนเอง และมีล่ามภาษามือเป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างผู้วิจัย/ครูประจำชั้นกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ผลการศึกษาด้านการรู้จักเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่ารู้จักแอปพลิเคชันการสนทนาผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ก และข้อความหลังเฟซบุ๊ก มากที่สุด รองลงมา คือ แอปพลิเคชันการสนทนาแบบเห็นหน้าต่อหน้า ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเจ้าของโทรศัพท์มือถือ/สมาร์ตโฟน และรองลงมาคือ โน้ตบุ๊ก ตามลำดับ ในขณะเดียวกันกลุ่มนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินมีแอปพลิเคชั่น เฟซบุ๊ก และไลน์ ตามลำดับ เมื่อพิจารณาถึงการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่านักเรียนใช้โทรศัพท์มือถือ/สมาร์ตโฟนเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตมากที่สุด นอกจากนี้ผลการศึกษาจากปัญหาอินเตอร์เน็ตพบว่าอินเทอร์เน็ตความเร็วช้า สำหรับผลการศึกษาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่ากลุ่มตัวอย่างติดต่อกับผู้ที่มีการได้ยินปกติด้วยวิธีการพิมพ์ส่งข้อความทางเฟซบุ๊ก ไลน์ และการโทรศัพท์โดยการขอความช่วยเหลือจากคนที่มีการได้ยินปกติ ตามลำดับ ส่วนการติดต่อกับคนหูหนวกและคนหูตึงพบว่า นักเรียนจำนวนมากใช้การส่งข้อความทางไลน์ และแอปพลิเคชันการสนทนาแบบเห็นหน้าตามลำดับในทางกลับกันกลุ่มตัวอย่างมีการใช้ศูนย์บริการถ่ายทอดการสื่อสารแห่งประเทศไทย (TTRS) หรือแอปพลิเคชัน TTRS น้อยลง สำหรับเหตุผลในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่านักเรียนตอบว่าเพื่อนแนะนำให้ใช้เพื่อการสื่อสารติดต่อกัน และเทคโนโลยีสารสนเทศจำเป็นต้องใช้ในการเรียนการสอนในชั้นเรียน ตามลำดับ ส่วนสถานที่ที่กลุ่มตัวอย่างมักใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ คือที่โรงเรียน โดยนักเรียนส่วนใหญ่ใช้เป็นประจำ/ทุกวัน ใช้มานานมากกว่า 4 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ของการใช้ เพื่อติดต่อพูดคุยทั่วไป และเพื่อความสะดวกในการติดต่อกับบุคคลอื่นๆ ตามลำดับ ผลการศึกษาในด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน พบว่าส่วนใหญ่มีความคิดเห็นด้านพึงพอใจต่อผลของการใช้ในระดับทั้งมากและปานกลาง โดยนักเรียนส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับมากว่าเทคโนโลยี สารสนเทศมีส่วนที่ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ รวมถึงการสนทนากับเครือญาติ และเพื่อนฝูง บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ด้วยอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ


ชื่อผู้วิจัย ธีรธร เลอศิลป์ (2561) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินในโรงเรียนโสตศึกษา สาขา เทคโนโลยีการศึกษา  กรุงเทพ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอนของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี

https://tdc.thailis.or.th/

 Name: นันธิยา มงคล

Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ต
ระดับปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอนของครูในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรีเปรียบเทียบระดับการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ต ระดับปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ต จาแนกตาม
ขนาดสถานศึกษาและศึกษาแนวทาง การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการ
เรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สานักงาน 
เขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี ปีการศึกษา 2549 จานวน 350 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ2 ขั้นตอน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามแบบมาตราประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย
ใช้โปรแกรม SPSS for Windows สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความ
แปรปรวนแบบทางเดียวและทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า
1. ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 มีระดับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ต 
โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ระดับปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ต 
โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านใช้เวลาในการโอนหรือคัดลอกข้อมูลนานอยู่ในระดับมาก
 2. ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2ที่มีขนาดสถานศึกษาต่างกัน มีระดับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน โดยภาพรวมและรายด้านไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.05 3. ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 ที่มีขนาดสถานศึกษาต่างกัน มีระดับปัญหา
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน โดยภาพรวมและรายด้านไม่มีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 มีความต้องการ
ให้มีแนวทางการส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน ดังนี้ 
ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรีและสถานศึกษา ติดตั้งอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในสถานศึกษาทุกแห่ง 
และจัดอบรมการใช้อินเทอร์เน็ตให้แก่ครู
Kanchanaburi Rajabhat University.
Address: KANCHANABURI
Email: tdc@kru.ac.th
Issued: 2550
Modified: 2562-07-25
Issued: 2554-09-24
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/octet-stream
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี


นันธิยา มงคล (2562) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอนของครู
ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี
สาขา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

วันเสาร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2564

Blogger นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7

Blogger นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7

 Blogger นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7

https://suchanyapam.blogspot.com

https://manidatukta2524.blogspot.com

https://sanjitaklayprayong.blogspot.com

https://kruweerayut01.blogspot.com

https://pongthepniyomthai.blogspot.com

https://noorfadilah2534.blogspot.com

https://kanoktip2536.blogspot.com

https://supannee-suna.blogspot.com

https://chaitobuddee.blogspot.com

https://teerapongsuksomsong.blogspot.com

https://witsarut-benz238.blogspot.com

https://phakornkiat.blogspot.com

https://nitid-hengchoochip.blogspot.com

https://chonthichadeebucha.blogspot.com

https://nopparataunprasert.blogspot.com

https://chaichaofa.blogspot.com

https://voraponbabyboss.blogspot.com

https://chenchira2021.blogspot.com

https://nattidadechakkanat.blogspot.com

https://khunmuangchukorn.blogspot.com

https://anupong12tu.blogspot.com

https://sutthananabangchang.blogspot.com

https://sattawatsurisan.blogspot.com

https://thanchanokluarnkrew.blogspot.com

https://supaporn1204.blogspot.com

https://vigaivaraporn.blogspot.com

https://nisachonyimprasert.blogspot.com

ระบบ DMC (Data Management Center : DMC)

 ระบบ Data Management Center (DMC) เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลบนเว็บไซต์ ซึ่งเปลี่ยนชื่อมำ จำก Data Center เป็นระบบซึ่งรวบรวมข้อมูลนักเรียนรำยบุคคล ข้อมูลสถำนศึกษำ และข้อมูลเขตพื้นที่ โดยมีกำรจัดเก็บ เป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนำยน ของทุกปี ระยะที่ 2 ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกำยน ของทุกปี และระยะที่ 3 คือ ข้อมูล ณ วันสิ้นปีกำรศึกษำ หรือ 31 มีนำคม ของทุกปี สำำหรับกำรทำำงำนของระบบ DMC จะแบ่งกำร ทำำงำนเป็น 3 ระดับ คือ ข้อมูลนักเรียนรำยบุคคล จะถูกจัดทำำโดยเจ้ำหน้ำที่ข้อมูลของโรงเรียน ตรวจสอบ และยืนยัน ข้อมูล สำำนักงำนเขตพื้นที่ทุกแห่ง มีหน้ำที่ตรวจสอบ ติดตำม ให้คำำแนะนำำ ปรึกษำ ในกำรจัดทำำข้อมูลของโรงเรียน และ ระดับ สพฐ. มีหน้ำที่จัดทำำระบบ ประมวลผล แก้ไขปัญหำในกำรจัดทำำข้อมูล ให้คำำแนะนำำ ปรึกษำ ฝึกอบรม เจ้ำหน้ำที่ รวมทั้งจัดทำำ Report สำำหรับโรงเรียน เขตพื้นที่ และ สพฐ. ระบบ DMC สำมำรถรับ – ส่งข้อมูลทั้งจำก DMC offline และ ระบบ SMIS เดิม

Template Powerpoint สวยๆ

 https://www.powerpointhub.com/ นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยธนบุรี รุ่นที่ 7 (prachyanun.com)